อาชีพฝ่ายขนส่ง

อาชีพฝ่ายขนส่ง

แนะนำอาชีพฝ่ายขนส่ง ว่าต้องทำอะไรบ้าง มีการทำงานอย่างไร เพื่อนๆจะได้เอาไปเป็นความรู้ประกอบการอาชีพที่เหมาะสมและสนใจ ซึ่งการเลือกเรียน สาขาการจัดการโลจิสติกส์ เป็นหนึ่งในสาขาของ คณะบริหารธุรกิจ ในที่นี้เราพูดถึง ม.เอกชน ก็คือ ม.รังสิต หรือ มหาวิทยาลัยรังสิตนั่นเอง ปัจจุบันสาขาการจัดการโลจิสติกส์กำลังมาแรงเลยทีเดียว มีคนเรียนเป็นจำนวนมาก
นิยามอาชีพ
วางแผน ดูแล กำกับ และประสานงานด้านการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ให้กับสถานประกอบการตัวแทนขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

โลจิสติกส์
โลจิสติกส์

อาชีพฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์

อาชีพฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์

แนะนำอาชีพฝ่ายฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ว่าต้องทำอะไรบ้าง มีการทำงานอย่างไร เพื่อนๆจะได้เอาไปเป็นความรู้ประกอบการอาชีพที่เหมาะสมและสนใจ ซึ่งการเลือกเรียน สาขาการจัดการโลจิสติกส์ เป็นหนึ่งในสาขาของ คณะบริหารธุรกิจ ในที่นี้เราพูดถึง ม.เอกชน ก็คือ ม.รังสิต หรือ มหาวิทยาลัยรังสิตนั่นเอง ปัจจุบันสาขาการจัดการโลจิสติกส์กำลังมาแรงเลยทีเดียว มีคนเรียนเป็นจำนวนมาก
"Supply Chain Management" คือกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขั้นตอนการทำงานทั้งหมด (managing flows) เพื่อลดค่าใช้จ่ายและพัฒนาคุณภาพและระดับสินค้าคงคลัง ซึ่งหมายถึงการประสานข้อมูลจากลูกค้า ผ่านกระบวนการผลิต และจัดการสายการผลิตของสินค้าจนเสร็จสมบูรณ์ 
ระบบซัพพลายเชนอาศัยขบวนการทำงานร่วมจำนวนมากเพื่อผลิตสินค้าที่ถูกต้องตามความต้องการของลูกค้า ให้ถูกที่ ถูกเวลา และถูกจำนวน จึงต้องอาศัยการประสานงานที่ดีจากหน่วยการผลิตต่างๆ การขาย การตลาด การเงิน และการพัฒนาสินค้า

โลจิสติกส์
โลจิสติกส์

อาชีพฝ่ายจัดซื้อ

อาชีพฝ่ายจัดซื้อ

แนะนำอาชีพฝ่ายจัดซื้อ ว่าต้องทำอะไรบ้าง มีการทำงานอย่างไร เพื่อนๆจะได้เอาไปเป็นความรู้ประกอบการอาชีพที่เหมาะสมและสนใจ ซึ่งการเลือกเรียน สาขาการจัดการโลจิสติกส์ เป็นหนึ่งในสาขาของ คณะบริหารธุรกิจ ในที่นี้เราพูดถึง ม.เอกชน ก็คือ ม.รังสิต หรือ มหาวิทยาลัยรังสิตนั่นเอง ปัจจุบันสาขาการจัดการโลจิสติกส์กำลังมาแรกเลยทีเดียว มีคนเรียนเป็นจำนวนมาก
Do
1.      เก็บทะเบียนประวัติและแคตตาล็อกสินค้าต่างๆ ของผู้ขาย
2.      กำหนดคุณลักษณะของสินค้าที่ต้องการให้แน่นอน โดยสอบถามรายละเอียดจากผู้ที่ต้องการใช้สินค้านั้นๆ ให้ครบถ้วน สิ่งที่ควรระบุ เช่น
·         ตราสินค้าหรือยี่ห้อสินค้า อาจระบุชื่อสินค้าไว้ประมาณ 2-3 ชื่อ พร้อมทั้งควรเปิดโอกาสให้กับตราสินค้าอื่นๆ โดยระบุว่า “หรือที่มีคุณภาพเทียบเท่า”
·         บอกคุณลักษณะที่เฉพาะเจาะจง, มาตรฐานของสินค้า และข้อกำหนดต่างๆ ในการใช้งาน
·         มีตัวอย่างสินค้าให้ผู้ขายดู
3.      ศึกษาข้อมูลของชนิดของสินค้าที่ต้องการแล้วนำไปเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของแต่ละตราสินค้าที่ผู้ขายนำเสนอมาอย่างถี่ถ้วน
4.      หลีกเลี่ยงการสั่งซื้อของ “ด่วน” เพราะจะทำให้เราเป็นรองกับผู้ขายสินค้าทันที
5.      มีแบบฟอร์มการสั่งซื้อที่เป็นมาตรฐาน มีการบันทึกผล กำหนดการส่งของ เวลา จำนวนในการส่ง และการทำสัญญา
6.      หาผู้ขายจากบันทึกที่เคยสั่งสินค้าด้วยกันทำให้ลดความเสี่ยงที่จะเจอผู้ขายที่ประวัติไม่ดี
7.      ให้นโยบายการสั่งซื้อแก่ผู้ขาย ผู้ขายจะได้ปฏิบัติถูกต้อง
8.      ออกเยี่ยมเยียนผู้ขายเพื่อเป็นการผูกสัมพันธ์ที่ดี และยังทำให้เราทราบถึงสภาพของกิจการของผู้ขายนั้นๆ อีกด้วย
9.      จ่ายเงินให้ตรงเวลา

เรียนโลจิสติกส์ จบมาทำงานอะไร ?

เรียนโลจิสติกส์ จบมาทำงานอะไร ? 

เพื่อนๆหลายคนคงสงสัยและมีความถามนี้เกิดขึ้นในสมอง ว่าเอ้...เรียนโลจิสติกส์จบมาทำงานอะไรได้บ้าง? เรียนโลจิสติกส์ทำงานอะไรดี? เรียนโลจิสติกส์ทำงานอันนี้ได้มั้ย? อันนู้นได้มั้ย? วันนี้เรามีคำตอบมาให้เพื่อนๆจ้า :D
  • ระดับปฏิบัติการ เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ  ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง
  • ระดับบริหาร เช่น นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน นักวางแผน  วัตถุดิบ การผลิต  หรือการกระจายสินค้า และนักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ Logistics Analyst,  Material Planner, Operations Analyst,  Procurement Manager, Supply Chain Analyst, Business Process Analyst, Operations Manager
  • ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ
  •  รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี กรมประมง    กรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  •  นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
เห็นมั้ยว่ามีหลากหลายอาชีพให้เราเลือกมากมายเลย เพราะฉะนั้นเรียนโลจิสติกส์มา มีงานให้ทำอยู่แล้วจ้าาา :D